วันจันทร์ที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2558

บทที่8 มหาชาติหรือมหาเวสสันดรชาดก

พระพุทธเจ้าได้ตรัสเทศนาเกี่ยวกับมงคลสูงสุด ไว้ ๓๘ ประการ  ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงนำมงคลสูตรมาทรงพระราชนิพนธ์เป็นบทประพันธ์ร้อยกรองประเภทคำฉันท์  มีลักษณะเด่นทางวรรณศิลป์ ใช้ถ้อยคำภาษาง่ายๆ แม้จะมีศัพท์บาลีอยู่บ้าง ก่อนนอนคืนนี้น้อมสิ่งดีใส่กมล  สวดสูตรมงคลไม่อับจนในชีวา ู้ทรงพระราชนิพนธ์ คือ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์ เมื่อ พ.ศ.2466 ฉันทลักษณ์  แต่งเป็นคำฉันท์ คำฉันท์ ประกอบด้วย กาพย์ฉบังและอินทรวิเชียรฉันท์ในเรื่องมงคลสูตรคำฉันท์ จะแทรกคาถาบาลี  


บทที่7 มงคลสูตรคำฉันท์

  พระพุทธเจ้าได้ตรัสเทศนาเกี่ยวกับมงคลสูงสุด ไว้ ๓๘ ประการ  ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงนำมงคลสูตรมาทรงพระราชนิพนธ์เป็นบทประพันธ์ร้อยกรองประเภทคำฉันท์  มีลักษณะเด่นทางวรรณศิลป์ ใช้ถ้อยคำภาษาง่ายๆ แม้จะมีศัพท์บาลีอยู่บ้าง ก่อนนอนคืนนี้น้อมสิ่งดีใส่กมล  สวดสูตรมงคลไม่อับจนในชีวา ู้ทรงพระราชนิพนธ์ คือ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์ เมื่อ พ.ศ.2466 ฉันทลักษณ์  แต่งเป็นคำฉันท์ คำฉันท์ ประกอบด้วย กาพย์ฉบังและอินทรวิเชียรฉันท์ในเรื่องมงคลสูตรคำฉันท์ จะแทรกคาถาบาลี   อ่านเพิ่มเติม 


บทที่6 ทุกข์ของชาวนาในบทกวี


ทุกข์ของชาวนาในบทกวี  มีที่มาจากหนังสือรวมบทพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพ-รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี  เรื่อง  มณีพลอยร้อยแสง ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้จัดพิมพ์ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2533  ในวโรกาสที่พระองค์ทรงเจริญพระชนมายุครบ 3 รอบ  โดยนิสิตคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  รุ่นที่ 41  พระราชนิพนธ์นั้นแสดงให้เห็นแนวพระราชดำริเกี่ยวกับบทกวีของไทยและจีนที่กล่าวถึงชีวิตและความทุกข์ของชาวนาซึ่งมีสภาพชีวิตที่ไม่แตกต่างกันนัก  อ่านเพิ่มเติม



บทที่5 หัวใจชายหนุ่ม

  หัวใจชายหนุ่ม เป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรงใช้พระนามแฝงว่า “รามจิตติ” เพื่อพระราชทานลงพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ “ ดุสิตสมิต” เมื่อ พ..๒๔๖๔ ลักษณะการพระราชนิพนธ์เป็นรูปแบบของจดหมาย มีจำนวน ๑๘ ฉบับ รวมระยะเวลาที่ปรากฏตามจดหมายทั้งหมด ๑ ปี ๗ เดือน  อ่านเพิ่มเติม